
วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Milk

วันเสาร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554
Coffe

Coffee has played a crucial role in many societies throughout history. The energizing effect of the coffee bean plant is thought to have been discovered in the northeast region of Ethiopia, and the cultivation of coffee first expanded in the Arab world. The earliest credible evidence of coffee drinking appears in the middle of the 15th century, in the Sufi monasteries of Yemen in southern Arabia. From the Muslim world, coffee spread to Italy, then to the rest of Europe, to Indonesia, and to the Americas. In East Africa and Yemen, it was used in religious ceremonies. As a result, the Ethiopian Church banned its secular consumption, a ban in effect until the reign of Emperor Menelik II of Ethiopia. It was banned in Ottoman Turkey during the 17th century for political reasons, and was associated with rebellious political activities in Europe.
Coffee berries, which contain the coffee seed, or "bean", are produced by several species of small evergreen bush of the genus Coffea. The two most commonly grown are the highly regarded Coffea arabica, and the 'robusta' form of the hardier Coffea canephora. The latter is resistant to the devastating coffee leaf rust (Hemileia vastatrix). Once ripe, coffee berries are picked, processed, and dried. The seeds are then roasted to varying degrees, depending on the desired flavor. They are then ground and brewed to create coffee. Coffee can be prepared and presented in a variety of ways.
วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554
ความเป็นมาของรางวัลโนเบล (Nobel prize
อัลเฟร็ด โนเบล (Alfred Nobel) นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ชุดดินระเบิดที่เรียกว่า ไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerine) หรือระเบิดไดนาไมต์ รู้สึกเสียใจที่ระเบิดของเขาถูกนำไปใช้ในการคร่าชีวิตมนุษย์ เมื่อเขาเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1896เขาระบุในพินัยกรรมยกทรัพย์สมบัติให้นำไปตั้งมูลนิธิโนเบล เพื่อเป็นการสนับสนุน และมอบรางวัลให้แก่บุคคลที่มีผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ โนเบลแสดงเจตนารมณ์ไว้ในพินัยกรรมของเขาอย่างชัดแจ้งว่า "...It is my express wish that in awarding the prizes no consideration be given to the nationality of the candidates, but that the most worthy shall receive the prize, whether he be Scandinavian or not. ..." ซึ่งหมายถึง ผู้ที่มีสิทธิ์ได้รับรางวัลนี้ต้องเป็น "บุคคลผู้อำนวยคุณประโยชน์แก่มวลมนุษยชาติ" โดยไม่จำกัดว่าบุคคลผู้นั้นจะมีเชื้อชาติไหน พูดภาษาใด
พิธีมอบรางวัลโนเบลจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยจัดขึ้นครั้งแรกหลังจากโนเบลเสียชีวิตไปได้ 5 ปี (ค.ศ. 1901) มี 5 สาขา คือ คือ ฟิสิกส์(physics) เคมี (chemistry) การแพทย์และสรีรวิทยา (physiology ormedicine) วรรณกรรม (literature) สันติภาพ (peace) และในปี ค.ศ. 1969จึงเพิ่มรางวัลอีก 1 สาขา คือสาขาเศรษฐศาสตร์ (economic) ผู้พระราชทานรางวัลโนเบลคือ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรสวีเดนแม้ว่าบางปีรางวัลบางสาขาอาจไม่มีการตัดสิน แต่มีข้อกำหนดว่าระยะเวลาของการเว้นการมอบรางวัลต้องไม่เกิน 5 ปี รางวัลที่มอบให้ประกอบด้วย เหรียญทองที่ด้านหน้าสลักเป็นรูปหน้าของอัลเฟร็ด โนเบล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณและเงินสด
รางวัลโนเบลถือ เป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่และทรงเกียรติของชาวโลก ถือเป็นสิ่งที่เชิดชูเกียรติ บ่งบอกถึงความเก่งกาจ ยอดเยี่ยม และเป็นผู้อุทิศตนเพื่อความเจริญก้าวหน้า ความสงบและสันติของสังคมโลก
พิธีมอบรางวัลโนเบลจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 10 ธันวาคม โดยจัดขึ้นครั้งแรกหลังจากโนเบลเสียชีวิตไปได้ 5 ปี (ค.ศ. 1901) มี 5 สาขา คือ คือ ฟิสิกส์(physics) เคมี (chemistry) การแพทย์และสรีรวิทยา (physiology ormedicine) วรรณกรรม (literature) สันติภาพ (peace) และในปี ค.ศ. 1969จึงเพิ่มรางวัลอีก 1 สาขา คือสาขาเศรษฐศาสตร์ (economic) ผู้พระราชทานรางวัลโนเบลคือ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรสวีเดนแม้ว่าบางปีรางวัลบางสาขาอาจไม่มีการตัดสิน แต่มีข้อกำหนดว่าระยะเวลาของการเว้นการมอบรางวัลต้องไม่เกิน 5 ปี รางวัลที่มอบให้ประกอบด้วย เหรียญทองที่ด้านหน้าสลักเป็นรูปหน้าของอัลเฟร็ด โนเบล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณและเงินสด
รางวัลโนเบลถือ เป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่และทรงเกียรติของชาวโลก ถือเป็นสิ่งที่เชิดชูเกียรติ บ่งบอกถึงความเก่งกาจ ยอดเยี่ยม และเป็นผู้อุทิศตนเพื่อความเจริญก้าวหน้า ความสงบและสันติของสังคมโลก
วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2554
บรั่นดี (brandy) คืออะไร

วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553
Coffe

Coffee has played a crucial role in many societies throughout history. The energizing effect of the coffee bean plant is thought to have been discovered in the northeast region of Ethiopia, and the cultivation of coffee first expanded in the Arab world.The earliest credible evidence of coffee drinking appears in the middle of the 15th century, in the Sufi monasteries of Yemen in southern Arabia.[3] From the Muslim world, coffee spread to Italy, then to the rest of Europe, to Indonesia, and to the Americas. In East Africa and Yemen, it was used in religious ceremonies. As a result, the Ethiopian Church banned its secular consumption, a ban in effect until the reign of Emperor Menelik II of Ethiopia. It was banned in Ottoman Turkey during the 17th century for political reasons and was associated with rebellious political activities in Europe.
Coffee berries, which contain the coffee seed, or "bean", are produced by several species of small evergreen bush of the genus Coffea. The two most commonly grown are the highly regarded Coffea arabica, and the 'robusta' form of the hardier Coffea canephora. The latter is resistant to the devastating coffee leaf rust (Hemileia vastatrix). Once ripe, coffee berries are picked, processed, and dried. The seeds are then roasted to varying degrees, depending on the desired flavor. They are then ground and brewed to create coffee. Coffee can be prepared and presented in a variety of ways.
วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
Chocolate

After fermentation, the beans are dried, then cleaned, and then roasted, and the shell is removed to produce cacao nibs. The nibs are then ground to cocoa mass, pure chocolate in rough form. Because this cocoa mass usually is liquefied then molded with or without other ingredients, it is called chocolate liquor. The liquor also may be processed into two components: cocoa solids and cocoa butter. Unsweetened baking chocolate (bitter chocolate) contains primarily cocoa solids and cocoa butter in varying proportions. Much of the chocolate consumed today is in the form of sweet chocolate, combining cocoa solids, cocoa butter or other fat, and sugar. Milk chocolate is sweet chocolate that additionally contains milk powder or condensed milk. White chocolate contains cocoa butter, sugar, and milk but no cocoa solids. Cocoa solids contain alkaloids such as theobromine and phenethylamine, which have physiological effects on the body. It has been linked to serotonin levels in the brain. Some research found that chocolate, eaten in moderation, can lower blood pressure.[1] The presence of theobromine renders it toxic to some animals,[2] especially dogs and cats.
Chocolate has become one of the most popular food types and flavors in the world. Gifts of chocolate molded into different shapes have become traditional on certain holidays: chocolate bunnies and eggs are popular on Easter, chocolate coins on Hanukkah, Santa Claus and other holiday symbols on Christmas, and chocolate hearts or chocolate in heart-shaped boxes on Valentine's Day. Chocolate is also used in cold and hot beverages, to produce chocolate milk and hot chocolate.
วันพุธที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
โลกร้อน สาเหตุ 10 ปรากฏการณ์ประหลาด
1. สารภูมิแพ้แพร่ระบาดช่วงฤดูใบไม้ผลิ ชาวอเมริกันต้องประสบกับอาการไอ จาม เป็นภูมิแพ้ และหอบหืดง่ายและบ่อยขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่จากการศึกษาพบว่า วิถีชีวิตที่ต้องเปลี่ยนไปเพราะสภาพมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้น ทำให้เกิ[คำไม่พึงประสงค์]าการดังกล่าว ขณะที่งานวิจัยใหม่ๆได้แสดงข้อมูลว่า โลกร้อนขึ้นและมีระดับแก๊สคาร์บอนไ[คำไม่พึงประสงค์]อกไซด์ในอากาศมากขึ้น ทำให้พืชพรรณผลิใบเร็วกว่าเดิม บวกกับปริมาณละอองเกสรที่ฟุ้งกระจายในอากาศ ทำให้เกิดปฏิกิริยาต่อผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ได้ไวขึ้น
2. สัตว์อพยพไร้ที่อยู่สัตว์หลายชนิดต้องอพยพขึ้นที่สูง เช่น หมีขั้วโลก เนื่องจากธารน้ำแข็งละลายอย่างรวดเร็ว จนอาจทำให้มันไม่สามารถอยู่ในอาร์กติกขั้วโลกเหนือได้
3. พืชขั้วโลกคืนชีพเนื่องจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำให้พืชที่อาจเคยถูกปกคลุมอยู่ในน้ำแข็งกลายเป็นอิสระ เริ่มกระบวนการสังเคราะห์แสงและกลับมาเติบโตอีกครั้ง
4. ทะเลสาบหายสาบสูญมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าในช่วง 20-30 ปีที่ผ่านมา มีทะเลสาบประมาณ 125 แห่งหายสาบสูญจากอาร์กติก เพราะ เพอร์มาฟรอส ที่เป็นน้ำแข็ง แข็วตัวอยู่ใต้ทะเลสาบนั้นละลายหมด ทำให้น้ำในทะเลซึมเข้าสู่พื้นดินข้างใต้ได้
5. น้ำแข็งใต้พื้นโลกละลายจากภาวะโลกร้อนได้ทำให้ชั้นน้ำแข็งถาวรที่มีอยู่ใต้พื้นผิวโลกค่อยๆ ละลายลดปริมาณลงไปเช่นกัน โดยผลที่อาจเกิดตามมาคือ จุดใต้พื้นโลก ซึ่งเคยเป็นน้ำแข็งหายไปจนเกิดเป็นรูรั่วใต้ดิน ทำให้สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่อยู่เหนือจุดดังกล่าวอาจได้รับความเสียหาย
6. ไฟป่าเกิดไฟป่าได้ง่ายขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เพราะสภาพป่าที่แห้งกว่าเดิมจึงนับเป็นเชื้อไฟได้เป็นอย่างดี
7. ผู้แข็งแกร่งเท่านั้นจึงอยู่รอดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือฤดูหนาวที่สั้นลง ตรงข้ามกับฤดูร้อนที่มาถึงเร็วขึ้น ทำให้บรรดาฝูงนกเกิดปัญหาในการปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพที่ผันแปรไปไม่ทัน ทำให้สัตว์ที่สามารถอยู่รอดได้นั้นต้องเป็นสายพันธุ์ที่แข็งแรงที่สุด และสัตว์ที่อยู่รอดได้อาจต้องกลายพันธุ์หรือปรับพันธุกรรมใหม่ เพื่อรับมือภัยที่เกิดขึ้น
8. ดาวเทียมโคจรเร็วขึ้นกว่าเดิมแก๊สคาร์บอนไ[คำไม่พึงประสงค์]อกไซด์ที่ถูกปล่อยจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ได้ขึ้นไปสะสมในชั้นบรรยากาศมากขึ้น ทำให้ดาวเทียมที่อยู่ในวงโคจรโลกเคลื่อนที่เร็วขึ้นกว่าเดิม
9. ภูเขากระเด้งตัวเหนือพื้นโลกภูเขาและเทือกเขาสูงหลายแห่งกำลังขยายตัวสูงขึ้น ยอดภูเขาในเขตหนาวเย็นโดยทั่วไปจะมีน้ำแข็งปกคลุมอยู่และทำหน้าที่เหมือนตุ้มน้ำหนักที่คอยกดทับในฐานล่างของภูเขาทรุดลงไปใต้พื้นผิว เมื่อน้ำแข็งบนยอดเขาละลายหายไป ส่วนฐานล่างที่เคยจมอยู่ก็จะค่อยๆ กระเด้งคืนมาเหนือผิวโลก
10. โบราณสถานเสียหายเพราะอากาศที่แปรปรวน ภัยธรรมชาติประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้น สร้างความเสียหายให้แก่โบราณสถาน เมืองเก่า ซากปรักหักพังทางประวัติศาสตร์ ตัวอย่างโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย และอยุธยาที่เจอกับภัยน้ำท่วมใหญ่
2. สัตว์อพยพไร้ที่อยู่สัตว์หลายชนิดต้องอพยพขึ้นที่สูง เช่น หมีขั้วโลก เนื่องจากธารน้ำแข็งละลายอย่างรวดเร็ว จนอาจทำให้มันไม่สามารถอยู่ในอาร์กติกขั้วโลกเหนือได้
3. พืชขั้วโลกคืนชีพเนื่องจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำให้พืชที่อาจเคยถูกปกคลุมอยู่ในน้ำแข็งกลายเป็นอิสระ เริ่มกระบวนการสังเคราะห์แสงและกลับมาเติบโตอีกครั้ง
4. ทะเลสาบหายสาบสูญมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าในช่วง 20-30 ปีที่ผ่านมา มีทะเลสาบประมาณ 125 แห่งหายสาบสูญจากอาร์กติก เพราะ เพอร์มาฟรอส ที่เป็นน้ำแข็ง แข็วตัวอยู่ใต้ทะเลสาบนั้นละลายหมด ทำให้น้ำในทะเลซึมเข้าสู่พื้นดินข้างใต้ได้
5. น้ำแข็งใต้พื้นโลกละลายจากภาวะโลกร้อนได้ทำให้ชั้นน้ำแข็งถาวรที่มีอยู่ใต้พื้นผิวโลกค่อยๆ ละลายลดปริมาณลงไปเช่นกัน โดยผลที่อาจเกิดตามมาคือ จุดใต้พื้นโลก ซึ่งเคยเป็นน้ำแข็งหายไปจนเกิดเป็นรูรั่วใต้ดิน ทำให้สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่อยู่เหนือจุดดังกล่าวอาจได้รับความเสียหาย
6. ไฟป่าเกิดไฟป่าได้ง่ายขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เพราะสภาพป่าที่แห้งกว่าเดิมจึงนับเป็นเชื้อไฟได้เป็นอย่างดี
7. ผู้แข็งแกร่งเท่านั้นจึงอยู่รอดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือฤดูหนาวที่สั้นลง ตรงข้ามกับฤดูร้อนที่มาถึงเร็วขึ้น ทำให้บรรดาฝูงนกเกิดปัญหาในการปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพที่ผันแปรไปไม่ทัน ทำให้สัตว์ที่สามารถอยู่รอดได้นั้นต้องเป็นสายพันธุ์ที่แข็งแรงที่สุด และสัตว์ที่อยู่รอดได้อาจต้องกลายพันธุ์หรือปรับพันธุกรรมใหม่ เพื่อรับมือภัยที่เกิดขึ้น
8. ดาวเทียมโคจรเร็วขึ้นกว่าเดิมแก๊สคาร์บอนไ[คำไม่พึงประสงค์]อกไซด์ที่ถูกปล่อยจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ได้ขึ้นไปสะสมในชั้นบรรยากาศมากขึ้น ทำให้ดาวเทียมที่อยู่ในวงโคจรโลกเคลื่อนที่เร็วขึ้นกว่าเดิม
9. ภูเขากระเด้งตัวเหนือพื้นโลกภูเขาและเทือกเขาสูงหลายแห่งกำลังขยายตัวสูงขึ้น ยอดภูเขาในเขตหนาวเย็นโดยทั่วไปจะมีน้ำแข็งปกคลุมอยู่และทำหน้าที่เหมือนตุ้มน้ำหนักที่คอยกดทับในฐานล่างของภูเขาทรุดลงไปใต้พื้นผิว เมื่อน้ำแข็งบนยอดเขาละลายหายไป ส่วนฐานล่างที่เคยจมอยู่ก็จะค่อยๆ กระเด้งคืนมาเหนือผิวโลก
10. โบราณสถานเสียหายเพราะอากาศที่แปรปรวน ภัยธรรมชาติประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้น สร้างความเสียหายให้แก่โบราณสถาน เมืองเก่า ซากปรักหักพังทางประวัติศาสตร์ ตัวอย่างโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย และอยุธยาที่เจอกับภัยน้ำท่วมใหญ่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)