วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

Chocolate

Chocolate (pronounced /ˈtʃɒklɨt/ ( listen) or /ˈtʃɒkəlɨt/) comprises a number of raw and processed foods produced from the seed of the tropical Theobroma cacao tree. Cacao has been cultivated for at least three millennia in Mexico, Central and South America, with its earliest documented use around 1100 BC. The majority of the Mesoamerican people made chocolate beverages, including the Aztecs, who made it into a beverage known as xocolātl (/ʃo.ko.laːtɬ/), a Nahuatl word meaning "bitter water". The seeds of the cacao tree have an intense bitter taste, and must be fermented to develop the flavor.
After fermentation, the beans are dried, then cleaned, and then roasted, and the shell is removed to produce cacao nibs. The nibs are then ground to cocoa mass, pure chocolate in rough form. Because this cocoa mass usually is liquefied then molded with or without other ingredients, it is called chocolate liquor. The liquor also may be processed into two components: cocoa solids and cocoa butter. Unsweetened baking chocolate (bitter chocolate) contains primarily cocoa solids and cocoa butter in varying proportions. Much of the chocolate consumed today is in the form of sweet chocolate, combining cocoa solids, cocoa butter or other fat, and sugar. Milk chocolate is sweet chocolate that additionally contains milk powder or condensed milk. White chocolate contains cocoa butter, sugar, and milk but no cocoa solids. Cocoa solids contain alkaloids such as theobromine and phenethylamine, which have physiological effects on the body. It has been linked to serotonin levels in the brain. Some research found that chocolate, eaten in moderation, can lower blood pressure.[1] The presence of theobromine renders it toxic to some animals,[2] especially dogs and cats.
Chocolate has become one of the most popular food types and flavors in the world. Gifts of chocolate molded into different shapes have become traditional on certain holidays: chocolate bunnies and eggs are popular on Easter, chocolate coins on Hanukkah, Santa Claus and other holiday symbols on Christmas, and chocolate hearts or chocolate in heart-shaped boxes on Valentine's Day. Chocolate is also used in cold and hot beverages, to produce chocolate milk and hot chocolate.

วันพุธที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

โลกร้อน สาเหตุ 10 ปรากฏการณ์ประหลาด

1. สารภูมิแพ้แพร่ระบาดช่วงฤดูใบไม้ผลิ ชาวอเมริกันต้องประสบกับอาการไอ จาม เป็นภูมิแพ้ และหอบหืดง่ายและบ่อยขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่จากการศึกษาพบว่า วิถีชีวิตที่ต้องเปลี่ยนไปเพราะสภาพมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้น ทำให้เกิ[คำไม่พึงประสงค์]าการดังกล่าว ขณะที่งานวิจัยใหม่ๆได้แสดงข้อมูลว่า โลกร้อนขึ้นและมีระดับแก๊สคาร์บอนไ[คำไม่พึงประสงค์]อกไซด์ในอากาศมากขึ้น ทำให้พืชพรรณผลิใบเร็วกว่าเดิม บวกกับปริมาณละอองเกสรที่ฟุ้งกระจายในอากาศ ทำให้เกิดปฏิกิริยาต่อผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ได้ไวขึ้น
2. สัตว์อพยพไร้ที่อยู่สัตว์หลายชนิดต้องอพยพขึ้นที่สูง เช่น หมีขั้วโลก เนื่องจากธารน้ำแข็งละลายอย่างรวดเร็ว จนอาจทำให้มันไม่สามารถอยู่ในอาร์กติกขั้วโลกเหนือได้
3. พืชขั้วโลกคืนชีพเนื่องจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำให้พืชที่อาจเคยถูกปกคลุมอยู่ในน้ำแข็งกลายเป็นอิสระ เริ่มกระบวนการสังเคราะห์แสงและกลับมาเติบโตอีกครั้ง
4. ทะเลสาบหายสาบสูญมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าในช่วง 20-30 ปีที่ผ่านมา มีทะเลสาบประมาณ 125 แห่งหายสาบสูญจากอาร์กติก เพราะ เพอร์มาฟรอส ที่เป็นน้ำแข็ง แข็วตัวอยู่ใต้ทะเลสาบนั้นละลายหมด ทำให้น้ำในทะเลซึมเข้าสู่พื้นดินข้างใต้ได้
5. น้ำแข็งใต้พื้นโลกละลายจากภาวะโลกร้อนได้ทำให้ชั้นน้ำแข็งถาวรที่มีอยู่ใต้พื้นผิวโลกค่อยๆ ละลายลดปริมาณลงไปเช่นกัน โดยผลที่อาจเกิดตามมาคือ จุดใต้พื้นโลก ซึ่งเคยเป็นน้ำแข็งหายไปจนเกิดเป็นรูรั่วใต้ดิน ทำให้สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่อยู่เหนือจุดดังกล่าวอาจได้รับความเสียหาย
6. ไฟป่าเกิดไฟป่าได้ง่ายขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เพราะสภาพป่าที่แห้งกว่าเดิมจึงนับเป็นเชื้อไฟได้เป็นอย่างดี
7. ผู้แข็งแกร่งเท่านั้นจึงอยู่รอดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือฤดูหนาวที่สั้นลง ตรงข้ามกับฤดูร้อนที่มาถึงเร็วขึ้น ทำให้บรรดาฝูงนกเกิดปัญหาในการปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพที่ผันแปรไปไม่ทัน ทำให้สัตว์ที่สามารถอยู่รอดได้นั้นต้องเป็นสายพันธุ์ที่แข็งแรงที่สุด และสัตว์ที่อยู่รอดได้อาจต้องกลายพันธุ์หรือปรับพันธุกรรมใหม่ เพื่อรับมือภัยที่เกิดขึ้น
8. ดาวเทียมโคจรเร็วขึ้นกว่าเดิมแก๊สคาร์บอนไ[คำไม่พึงประสงค์]อกไซด์ที่ถูกปล่อยจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ได้ขึ้นไปสะสมในชั้นบรรยากาศมากขึ้น ทำให้ดาวเทียมที่อยู่ในวงโคจรโลกเคลื่อนที่เร็วขึ้นกว่าเดิม
9. ภูเขากระเด้งตัวเหนือพื้นโลกภูเขาและเทือกเขาสูงหลายแห่งกำลังขยายตัวสูงขึ้น ยอดภูเขาในเขตหนาวเย็นโดยทั่วไปจะมีน้ำแข็งปกคลุมอยู่และทำหน้าที่เหมือนตุ้มน้ำหนักที่คอยกดทับในฐานล่างของภูเขาทรุดลงไปใต้พื้นผิว เมื่อน้ำแข็งบนยอดเขาละลายหายไป ส่วนฐานล่างที่เคยจมอยู่ก็จะค่อยๆ กระเด้งคืนมาเหนือผิวโลก
10. โบราณสถานเสียหายเพราะอากาศที่แปรปรวน ภัยธรรมชาติประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้น สร้างความเสียหายให้แก่โบราณสถาน เมืองเก่า ซากปรักหักพังทางประวัติศาสตร์ ตัวอย่างโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย และอยุธยาที่เจอกับภัยน้ำท่วมใหญ่